หน้าหลัก
สุขศึกษา
สังคม
ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์
ตัววิ่ง
ยินดีต้อนรับสู่เว็บบล็อก ผลงานนักเรียนของ นางสาวณิชารีย์ เปียสกุล ได้เลยคะ
วันจันทร์ที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2558
2.3ความผิดปกติชองภูมิคุ้มกัน
ระบบภูมิคุ้มกัน
เป็นระบบของร่างกายที่ตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้าสู่ร่างกาย หรือเกิดขึ้นในร่างกาย เพื่อให้พ้นจากอันตราย หรือโทษที่เกิดขึ้นจากสิ่งแปลกปลอมต่างๆ ถ้ามีน้อยไปหรือมากไปก็จะมีผลเสีย คือ ก่อให้เกิดโรคต่างๆได้
ภาวะพร่องภูมิคุ
อ่านเพิ่มเติม
2.2 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับร่างกาย
โรคบางชนิดเมื่อเคยเป็นครั้งหนึ่งและรักษาหายแล้ว ร่างกายจะมีภูมิต้านทานต่อโรคนั้นทำให้ไม่เป็นโรคนั้นอีกตลอดไป เช่น โรคอีสุกอีใส เป็นต้น ทั้งนี้ก็เป็นเพราะว่า เซลล์ที ในร่างกายจะจดจำเชื้อโรคอีสุกอีใสนี้ได้ จึงกระตุ่นให้เซลล์บีพัฒนาเป็นเซลล์พลาสมาเพื่อสร้
อ่านเพิ่มเติม
2.1การป้องกันและกำจัดเชื้อโรคของร่างกาย
โดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา มีกลไกในการป้องกันและกำจัดเชื้อโรคอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเปรียบเสมือนกับกำแพงเมือง ด่าน หรือป้อมปราการที่สร้างไว้สำหรับเป็นเครื่องกีดขว้าง สกั
อ่านเพิ่มเติม
อยู่อย่างปลอดภัย
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.
สืบค้นข้อมูลและอธิบายเกี่ยวกับบทบาทของอวัยวะที่ทำหน้าที่ป้องกันและทำลายเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกาย รวมทั้งระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
2.
อธิบายความสำคัญและการทำงานของอวัยวะที่ทำหน้าที่ป้องกันและทำลายเชื้อโรค
อ่านเพิ่มเติม
1.3.2การรักษาน้ำและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การรักษาดุลยภาพน้ำและแร่ธาตุของสิ่งมีชีวิต
โครงสร้างของสิ่งมีชีวิตทั้งพืช
สัตว์ และมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์จำนวนมากมายมหาศาลมาอยู่ร่วมกันเป็นระบบเนื้อเยื่อและอวัยวะต่าง ๆ
ซึ่งการทำงานของเซลล์ต่าง ๆ ก็ต้องอาศั
อ่านเพิ่มเติม
1.3.1 การรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช
กลไกสำคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช คือ
ควบคุมสมดุลระหว่างการคายน้ำผ่านปากใบและการดูดน้ำที่ราก
ถ้าคายน้ำมากก็ต้องดูดน้ำเข้าทางรากมากเช่นกัน ส่วนมากจะคายน้ำที่ปาก
อ่านเพิมเติม
1.3 กลไลการรักษาดุลยภาพ
กลไกการรักษาดุลยภาพ
การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต
1. การควบคุมภาวะกรด – ด่างด้วยวิธีทางเ
อ่านเพิมเติม
1.2.2การออสโมซิส
การออสโมซิส
(
อังกฤษ
:
Osmosis
) เป็น
กระบวนการแพร่
โมเลกุลของ
น้ำ
ผ่าน
เยื่อเลือกผ่าน
.
[1]
จากบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำมาก (
สารละลาย
ความเข้มข้นต่ำ) ไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นของน้ำน้อย (สารละลายความเข้มข้นสูง) กระจายจนกว่าโมเ
อ่านเพิมเติม
1.2.1 การแพร่
การแพร่
เป็นการกระจายตัวของ
โมเลกุล
ของ
สสาร
จากจุดที่มี
ความเข้มข้น
สูงกว่า ไปยังจุดที่มีความเข้มข้นต่ำกว่าด้วยการเคลื่อนที่เชิงสุ่มของโมเลกุล การแพร่จะทำให้ เกิดการผสมของวัสดุอย่างช้าๆ สำหรับ
เฟส
ห
อ่าเพิ่มเติม
1.2 การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีการรับสารจากภายนอก เช่น แร่งธาตุ น้ำ และอาหาร เข้าสู่เซลล์ เป็นต้น ในขณะเดียวกันเซลล์ก็จะกำจัดสารส่วนเกินหรือของเสียออกสู้ภายนอกด้วย เพื่อปรับหรือรักษาสภาพภายในเซลล์ให้เหมาะสมทำให้สามาร
อ่านเพิ่มเติม
1.1 เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ จึงต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการมองเห็น คือ กล้องจุลทรรศน์
การศึกษาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อ
อ่านเพิ่มเติม
อยู่ดีมีสุข
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.
อธิบายกลไกการควบคุมดุลยภาพของน้ำ แร่ธาตุ สภาพกรด-เบส และอุณหภูมิในสิ่งมีชีวิต
2.
อธิบายกระบวนการผ่านเข้า
อ่านเพิ่มเติม
บทความที่ใหม่กว่า
หน้าแรก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)